วันจันทร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2556

Technology Lesson 4 : ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ท

ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ท

ประวัติของอินเทอร์เน็ทนอกประเทศ


  • จุดเริ่มต้นจากโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางการทหารของกระทรวงกลาโหม ARPANET : advanced research project agency เมื่อ พศ.2512
  • พศ.2529 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้วางระบบเครือข่ายอีกระบบหนึ่งเรียกว่า NFSNET
  • มีเครือข่ายอื่นๆอีกหลายเครือข่าย เช่น UUNET, UUCP, BITNET และ CSNET เป็นต้น ซึ่งต่อมาเครือข่ายเหล่านี้ได้เชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยมี NSFNET เป็นเครือข่ายหลัก


ประวัติของอินเทอร์เน็ทในประเทศไทย


  • เริ่มมีการเชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ทเป็นครั้งแรกในปีพศ.2530 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ได้ยื่นขอที่อยู่อินเทอร์เน็ทในประเทศไทย โดยได้นับชื่อ sritrang.pus.th ซึ่งนับว่าเป็นที่อยู่อินเทอร์เน็ทแห่งแรกของประเทศไทย
  • ปีพศ.2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เชื่อมต่อกับเครือข่า UUNET ของบริษัทเอกชนที่รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา โดยวงจรเช่า (leased line) มีควาเร็ว 9600 bps
  • ต่อมามีมหาวิทยาลัยอีกหลายแห่งได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายผ่านระบบและเรียกชื่อเครือข่ายนี้ว่าไทยเน็ท (thainet) ซึ่งถือเป็นประตู (gateway) แห่งแรกที่นำประเทศไทยเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ทสากล
  • ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้จัดจตั้งเครือข่ายแห่งใหม่ขึ้นเรียกว่าเครือข่ายไทยสาร (thaisarn) เป็นประตู (gateway) แห่งที่สองของประเทศไทย


พัฒนาการของอินเทอร์เน็ท


  • เทคโนโลยีในการสร้างเว็ล 3.0 ประกอบด้วย
  • articial intelligence(AI) - เป็นการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้วิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของผู้ใช้เพื่อให้เกิดการทำงานอย่างอัตโนมัติ
  • automated reasoning - เป็นการสร้างระบบให้มีการประมวลผลอย่างสมเหตุสมผลแบบอัตโนมัติ โดยใช้หลักการทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการวิเคระห์และประมวลผล
  • cognitive architecture - เป็นการนำเสนอระบบประมวลผล ที่มีการทำงานเหมือนกันด้วยการสร้างเครื่องมือในโลกเสมือนมาใช้ในการทำงานจริง
  • composite applications - เป็นระบบประยุต์ที่สร้างจากการรวมหลายระบบเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานมากขึ้น
  • distributed computing - เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่อง ที่สามารถสื่อสารถึงกันได้บนเครือข่ายในการประมวลผล โดยใช้ส่วนที่แตกต่างกันของโปรแกรมเข้ามาช่วยประมวลผลในการทำงาน
  • human-based genetic algorithms - เป็นกระบวนการที่อนุญาตให้มนุษย์ สามารถสร้างนวัตกรรมที่ทำให้สาารถเปลี่ยนแปลง เกียวพันและเชื่อมโยงกันได้หลายรูปแบบแล้วแต่ความต้องการ
  • knowledge representation - เป็นวิธีการที่ระบบใช้ในการเข้ารหัสและเก็บความความรู้ในฐานความรู้
  • web ontology language (OWL) - เป็นภาษาที่ใช้อธิบายข้อมูลในเว็บไซต์จากความสัมพันธ์ โดยพิจารณาจากความหมายของสิ่งต่างๆ ทำให้เกิดประสิทธิภาพใการค้นหาข้อมูล
  • salable vector graphics (SVG) - เป็นรูปแบบของ XML ทีนิยามวัตถุในภาพวาดด้วย Point Path และ Shape
  • semantic web -เป็นเว็บเชิงความหมายที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลที่สัมพันธ์กันเข้าด้วยกันทั้งจากแหล่งข้อมูลเดียวกันและต่างแหล่งกัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าด้วยกัน
  • semantic wiki - เป็นการอธิบายข้อมูลซ้อนข้อมูล และให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคำที่ต้องการได้อย่างถูกต้องและแม่นยำขึ้น
  • software agent - เป็นโปรแกรที่สามารถเป็นตัวแทนในการทำงานที่กำหนดแบบอัตโนมัติ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น